บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วัน/เดือน/ปี 28 สิงหาคม พ.ศ.2557
ครั้งที่ 2 เวลาเรียน พฤหัสเช้า 08.30 น.
เวลาเข้าเรียน 08.30 น. ห้อง 233 อาคาร 2
เด็กปฐมวัย (children) หมายถึง เด็กแรกเกิด ถึง 5ปี11เดือน29วัน
1. พฤติกรรม
2. การเรียนรู้การเล่นของเด็ก
3. การอบรมเลี้ยงดู
พัฒนาการ (Development)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทั้ง 4 ด้าน โดยเป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
* พัฒนาการเป็นการบอกความสามารถของเด็ก
การับรู้ (Perceived)
แรกเกิดถึง 2ปี โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 รับรู้ไปยังสมอง
* ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
วิธีการเรียนรู้
ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น ลงมือกระทำกับวัตถุหรือกิจกรรมด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แบ่งเป็นแบบทางการและไม่เป็นทางการ
วิทยาศาสตร์ (Science)
หมายถึง ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งที่อยู่รอบตัวและตัวตนของตนเอง ความพยายามเช่นนี้ติดตัวของมนุษย์มาตั้งแต่เกิดซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้ อยากเห็น ช่างสังเกต และคอยซักถามสิ่งต่าง ๆ
* วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบตัวทั้งหมด
ผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก
- ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจ กับคำถาม
- ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็ก ๆ
- ไม่จัดประสบการณ์เรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิด ที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
ทบทวนบทบาท
- ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้
- ครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก
- เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพกเขาโดยการให้ความสนใจกับ คำถาม
- ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็ก ๆ
- จัดประสบการณ์เรียนที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ ถูกต้องให้เด็กอย่างเหมาะสม
วิธีการสอน (Teaching methods)
การใช้คำถาม เพื่อดึงการมีส่วนร่วมและประสบการณ์เดิมมาใช้ในการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications)
สามารถนำความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็ก
การประเมิน (Assessment)
เด็กปฐมวัย (children) หมายถึง เด็กแรกเกิด ถึง 5ปี11เดือน29วัน
1. พฤติกรรม
2. การเรียนรู้การเล่นของเด็ก
3. การอบรมเลี้ยงดู
พัฒนาการ (Development)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทั้ง 4 ด้าน โดยเป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
* พัฒนาการเป็นการบอกความสามารถของเด็ก
การับรู้ (Perceived)
แรกเกิดถึง 2ปี โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 รับรู้ไปยังสมอง
* ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
วิธีการเรียนรู้
ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น ลงมือกระทำกับวัตถุหรือกิจกรรมด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แบ่งเป็นแบบทางการและไม่เป็นทางการ
วิทยาศาสตร์ (Science)
หมายถึง ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งที่อยู่รอบตัวและตัวตนของตนเอง ความพยายามเช่นนี้ติดตัวของมนุษย์มาตั้งแต่เกิดซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้ อยากเห็น ช่างสังเกต และคอยซักถามสิ่งต่าง ๆ
* วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบตัวทั้งหมด
ผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก
- ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจ กับคำถาม
- ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็ก ๆ
- ไม่จัดประสบการณ์เรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิด ที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
ทบทวนบทบาท
- ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้
- ครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก
- เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพกเขาโดยการให้ความสนใจกับ คำถาม
- ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็ก ๆ
- จัดประสบการณ์เรียนที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ ถูกต้องให้เด็กอย่างเหมาะสม
mind map
วิธีการสอน (Teaching methods)
การใช้คำถาม เพื่อดึงการมีส่วนร่วมและประสบการณ์เดิมมาใช้ในการตอบคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้ (Applications)
สามารถนำความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็ก
การประเมิน (Assessment)
- ตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ส่งงานตรงต่อเวลา
- เพื่อน : มีมาสายบ้างเล็กน้อย แต่งกายถูกระเบียบ และตั้งใจเรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างอาจารย์กับผู้เรียน
- อาจารย์ : เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการเตรีมเนื้อหามาสอนเป็นอย่างดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น